เรียนเรขาคณิตไปทำไม


การนำการสร้างทางเรขาคณิตไปใช้ที่ชัดเจนที่สุดอย่างหนึ่ง

จุดมุ่งหมายหลักของการเรียนการสอนเรขาคณิต  มี  3  ประการดังนี้

ประการที่ 1  การฝึกให้เป็นคนมีเหตุมีผล

ประการที่ 2  ฝึกความสามารถด้านมิติสัมพันธ์

ประการที่ 3 มีพื้นฐานสำหรับการนำไปใช้

อ่่านอย่างละเอียดคลิกอ่านต่อได้เลยอครับ

Advertisement

ยุคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย


นักคณิตศาสตร์ที่มีบทบาทในการรวบรวม จัดหมวดหมู่ และวางรากฐานในการพัฒนาคณิตศาสตร์ให้เป็นระบบดังเช่นปัจจุบัน “ยุคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย

ยุคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย (Euclid of Alexandria, ประมาณ 325 – 265 ปีก่อนคริสต์ศักราช)

ด้วยวลีเด็ดที่ว่า “There is no Royal Road to Geometry.” (ไม่มีลาดพระบาทสำหรับการเรียนเรขาคณิต—ประมาณว่าการเรียนไม่มีอะไรง่ายนั่นเอง-ครูอั๋น) และได้รับการยกย่องให้เป็น “บิดาแห่งเรขาคณิต” พร้อมทั้งบทพิสูจน์ “จำนวนเฉพาะมีไม่จำกัดจำนวน” ที่เป็นบทพิสูจน์ที่สวยงาม แม้นักคณิตศาสตร์ยุคต่อมาก็ยังยกย่องบทพิสูจน์ที่สวยงามว่า “หลุดมาจากคำภีร์ (Eliments)” เพื่อให้เกียรติ

ตามไปอ่านกันครับว่า ยุคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย ท่านทำอะไรไว้มากมาย…อะไรบ้างหนอ แล้วเขาเล่าเรื่องของท่านไว้ว่าอย่างไร ไปกันเลยครับ

ครูอั๋น

Read: ยูคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย


วันนี้จะเล่าเรื่องของนักคณิตศาสตร์ที่เขียนตำราคณิตศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดเล่มหนึ่ง
ว่ากันว่าเป็นตำรา หรือหนังสือที่มีผลต่อวิถีชีวิตมนุษย์มาที่สุดเล่มหนึ่ง
เป็นรองก็แต่พระคำภีร์ไบเบิ้ลเท่านั้น

ตำราเล่มนี้ชื่อ “Elements” และนักคณิตศาสตร์ผู้เขียนตำราเล่มนี้นามว่า

“ยูคลิดแห่งอะเล็กซานเดรีย”

อ่านต่อกันครับ คลิก